เป้าหมาย(Understanding Goal)

เข้าใจและเห็นถึงความสำคัญของเทศกาลต่างๆสามารถเชื่อมโยง เรียนรู้ วัฒนธรรมและความเชื่อ ตลอดจนวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นแต่ละประเทศ รวมทั้งสามารถ คิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ ความสอดคล้องในวิถีชีวิตทางสังคม รู้เคารพในความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ของกลุ่มสังคมต่างๆเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Main

Mind mapping

#####

Big  Questions : ทำไมจึงต้องมีเทศกาลต่างๆและเทศกาลส่งผลต่อวิถีการดำรงชีวิตอย่างไร 
                       
ภูมิหลังของปัญหา
          ในสังคมโลกปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อวิถีชีวิตของผู้คนมากขึ้นส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมการใช้ชีวิตด้วยความเร่งรีบไม่ใส่ใจคนรอบข้าง วิถีปฎิบัติที่ยึดถือและประเพณีความเชื่อต่างๆที่เคยมีมาก็ลดน้อยลงจนบ้างครั้งก็เลือนหายไป แต่ก็ยังคงมีบ้างประเทศในสังคมเราที่ยังยึดถือประเพณีที่สืบสานกันมายาวนานจนกลายเป็นเทศกาลที่จำเป็นต้องจัดขึ้นทุกปี โดยมีกิจกรรมเสมือนพิธีที่กลุ่มภูมิสังคมหนึ่งรังสรรค์ขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งและเป็นเอกลักษณ์ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเชื่อ ความรักในชาติพันธุ์ อีกทั้งยังแสดงถึงความเป็นหนึ่งเดียวของกลุ่มคนหรือระหว่างคนกับธรรมชาติ

         จากที่กล่าวมานักเรียนจึงสนใจที่จะศึกษาเรียนรู้และเข้าใจถึงความสำคัญของเทศกาลต่างๆรวมทั้งวิถีการดำรงชีวิตของคนกับธรรมชาติว่าทำไมจึงยังดำรงอยู่ได้เป็นระยะเวลายาวนานจนถึงทุกวั้นนี้



 
 
 
 
 



ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย หลงเทศกาล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่มาและความสำคัญ
- ประวัติศาสตร์ / ความเป็นมา
( เทศกาลตรุษจีน,เทศกาลสงครามส้ม,เทศกาลถือศีลอด,เทศกาลปามะเขือเทศ,เทศกาลโหลี , เทศกาลล่าปลาวาฬ , เทศกาลทามะเซเซริ , เทศกาลดินักยาง )
- ระยะเวลา / ช่วงเวลา      
(ช่วงต้นปี, กลางปี,ท้ายปี )
มาตรฐาน ว ๑.
- สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางประวัติศาสตร์และช่วงระยะเวลาในท้องถิ่นที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ได้อย่างสมดุลและก่อเกิดเป็นเทศกาล
 (ม. ๓/๔)
- อธิบายผลของความหลากหลายทางประวัติศาสตร์จากเทศกาลต่างๆที่ส่งผลต่อมนุษย์ และสังคม
(ม .๓/๕)
มาตรฐานส๑.๑   
วิเคราะห์ความสำคัญถึงความเป็นมาของเทศกาลและช่วงระยะเวลาทางประวัติศาสตร์
 (ม. ๓/๒)



มาตรฐาน ส ๔.
- วิเคราะห์เรื่องราวในเทศกาลต่างๆ เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์        ได้อย่างมีเหตุผล   ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
(ม.๓/๑)

มาตรฐาน ส๒.
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์เทศกาลและสืบสานความเป็นมาเอกลักษณ์ของประวัติศาสตร์
( ม๓/๒ )

มาตรฐาน พ ๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้าน จิตใจ  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา
แต่ละช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ในกลุ่มสังคมที่ได้สร้างสรรค์เทศกาลต่างๆขึ้นมา
 (ม.๓/๑)




มาตรฐาน ศ๑.๒   
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในเรื่องราวของงานเทศกาลต่างๆและสะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมผ่าการ วาด เขียน หรือ การแสดงละคร (ม.๓/๑)

มาตรฐาน .๑  
-  มีทักษะงานและ กระบวนการเรียนรู้ปัญหาทางประวัติศาสตร์
( ม.-๖/๔ )
-  มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อ การเรียนรู้ในงานทางประวัติศาสตร์
(ม. -๖/๕)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๒.
สำรวจประวัติความเป็นมาในท้องถิ่นและอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบระหว่างสังคมที่มีต่อเทศกาล
(ม. ๓/๑)
มาตรฐาน ว ๒.วิเคราะห์สภาพปัญหาความเป็นมาของประวัติศาสตร์จากเทศกาลต่างๆและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้เทศกาลสามารถดำรงอยู่ได้ไม่เลือนหายไป (ม. ๓/๑
มาตรฐาน ส ๕.
- วิเคราะห์การ ก่อเกิดของประวัติศาตร์ทางสังคมอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงเป็นเทศกาลต่างๆ
(ม.๓/๑)
- วิเคราะห์สถานการณ์ทางประวัติศาสตร์ ของแต่ละเทศกาล
(ม .-๖/๑)
- ตระหนักถึงความสำคัญของช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติจนก่อเกิดเป็นวัฒนธรรมทางเทศกาล
 (ม. -๖/๑)









- เปรียบเทียบความแตกต่างของงานเทศกาลในแต่วัฒนธรรม โลกโดยวิเคราะห์ออกมา การเล่าเรื่อง หรือ แสดงรูปภาพประกอบ
(ม. ๓/๒)











มาตรฐาน ง ๒.
อธิบายและเชื่อมโยงความเป็นมาของเทศกาลและความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับอาชีพกับวัฒนธรรมอื่นๆ
(ม.-๖/๑)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๘.
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็น หรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจ ตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องเทศกาลต่างๆที่น่าสนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ (ม. ๓/๑ )
- สร้างสมมติฐานรื่องราวในเทศกาลต่างๆในแต่ละช่วงเวลาของประวัติศาสตร์ได้และสามารถตรวจสอบได้(ม. ๓/๒)

- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
ในการศึกษาเรื่องราวเทศกาลต่างๆ ที่ตนสนใจ
 (ม. ๓/๒)
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์         โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบในการเรียนรู้เทศกาลต่างๆ(ม.-๖/๒)











มาตรฐาน  ง ๔.
อภิปรายการหาช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ ด้วยวิธีที่หลากหลาย
(ม. ๓/๑)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วัฒนธรรม,ประเพณี
- ความเชื่อ
- ศาสนา
(คริสต์,พุทธ,ฮินดู,มุสลิม,
อิสลาม)
- การปกครอง
- อาหาร
- การแต่งกาย
- ภาษา
(ประเทศจีน,ประเทศอิตาลี,ประเทศสเปน,ประเทศอินเดีย,ประเทศญี่ปุ่น,ประเทศฟิลิปปินส์)
มาตรฐาน ว ๑.
- อธิบายความสำคัญทางประเพณีและวัฒนธรรมรวมไปถึงกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางความเชื่อต่อเทศกาลต่างๆได้
 (ม. ๓/๒)
- สำรวจและอธิบายความหลากหลาย
ของเทศกาลว่าทำไมวัฒนธรรม ความเชื่อ
ในท้องถิ่นที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล (ม. ๓/๔)

มาตรฐาน  ส ๑.
- วิเคราะห์เรื่องราวเทศกาลในสังคมต่างๆ และคติความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรม ประเพณี ของแต่ละที่ (ม.-๖/๑)
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละเทศกาลและยอมรับวัฒนธรรมของสังคมศาสนาอื่นๆได้(ม. ๓/๑๐)

มาตรฐาน ส ๔.
- วิเคราะห์เรื่องราวความเชื่อจากเทศกาลต่างๆและความสำคัญทางวิถีวัฒนธรรม ได้อย่างมีเหตุผล
 (ม. ๓/๑)
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการเรียนรู้งานเทศกาล โดยใช้วิธีการทางวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบ (ม.-๖/๒)

มาตรฐาน  ส ๒.
- อนุรักษ์เอกลักษณ์ของเทศกาลและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม(ม. ๓/๓)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง
ในด้านความเชื่อและวัฒนธรรม เสนอแนวคิด
ในการลดความขัดแย้งที่ส่งผลต่อการสืบสานงานเทศกาล
 (ม. ๓/๔)


มาตรฐาน ศ ๑.๒
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับวิถีชีวิตความเชื่อที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมผ่านงานเทศกาลต่างๆ
(ม. ๓/๑)
- เปรียบเทียบความแตกต่างของงานเทศกาลในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรม
แต่ละที่(ม. ๓/๒)

มาตรฐาน ง ๓.  
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนองาน ทางวัฒนธรรม ความเชื่อในรูปแบบที่เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน (ม.-๖/๑๑)
มาตรฐาน ง ๔.
ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ความเชื่อของกลุ่มสังคมต่างๆผ่านการเรียนรู้งานเทศกาลต่างๆ
(ม. ๓/๓)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

- อธิบายผลของความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม ประเพณี ที่มีต่อความเชื่อของมนุษย์และทำไมยังมีการสืบทอดวิถีจนกลางเป็นเทศกาลที่แสดงถึงความเป็นตนเอง
(ม. ๓/๕)
มาตรฐาน ว ๒.๑
สำรวจประเพณี วัฒนธรรมในท้องถิ่นและอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆเช่น การแต่งการ อาหาร ภาษาจากการเรียนรู้ผ่านงานเทศกาลของแต่ละที่
(ม. ๓/๑)

มาตรฐาน ส ๔.
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงของวัฒนธรรมและความเจริญรุ่งเรืองที่ไม่วีวันสิ้นสุดของงานเทศกาล
(ม. ๓/๒)
- วิเคราะห์ปัจจัย
ที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์
ภูมิปัญญาความเชื่อและวัฒนธรรมซึ่งมีผลต่อกลุ่มสังคมต่างๆในยุคปัจจุบันจนกลายเป็นงานเทศกาลของแต่ละพื้นที่
(ม. -๖/๓)





















- วิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไว้เพื่อให้เทศกาลยังคงอยู่
(ม.-๖/๕)

-อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลที่เกี่ยวข้องกับงานเทศกาลต่างๆจนก่อเกิดศิลปะวัฒนธรรมในด้านอาหารการ
กิน การแต่งกาย คำพูดภาษารวมไปถึงเครื่องมือในการดำรงชีพ ในสังคมต่างๆ
(ม.-๖/๓)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๒.๒
อธิบายแนวทางการรักษาเอกลักษณ์วัฒนธรรมให้คงไว้ยาวนาน (ม. ๓/๒)
มาตรฐาน ว ๓.๑
สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในเทศกาลต่างๆ  (ม. -๖/๑)





มาตรฐาน ศ ๓.
มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ผ่านการแสดงศิลปะ ภาษา อาหาร และการแต่งกายของงานเทศกาลต่างๆ
(ม. ๓/๔)





















สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มคน (ชาติพันธุ์)
- วิถีชีวิต/อาชีพ
(เกษตรกร,ชาวประมง,ชาวนา)
- ภูมิศาสตร์
 (ทวีปเอเชีย,ทวีปยุโรป)
- เชื้อชาติ
(ประเทศจีน,ประเทศ   อิตาลี,ประเทศสเปน, ประเทศอินเดีย,ประเทศญี่ปุ่น,ประเทศฟิลิปปินส์)
มาตรฐาน ว ๑.๒
- สังเกตและอธิบายลักษณะของงานเทศกาลมีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมของแต่ละชาติพันธุ์อย่าไร (ม. ๓/๑)
- สำรวจและอธิบายความหลากหลายของวิถีชีวิต อาชีพในท้องถิ่น
ที่ทำให้กลุ่มคนมารวมตัวเป็นงานเทศกาลและเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล (ม.๓/๔)




มาตรฐาน ส ๓.๒
อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุ่มของกลุ่มสังคมต่างๆจนเกิดเป็นงานเทศกาล
(ม. ๓/๓)
มาตรฐาน ส ๕.
- ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวมวิเคราะห์  และนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของสังคม (ม. ๓/๑)

มาตรฐาน ส ๔.
- วิเคราะห์เรื่องราว วิถีชีวิตได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์ผ่านงานเทศกาล
ของประเทศต่างๆในโลก (ม. ๓/๑)
- ตระหนักถึงความสำคัญของการดำรงวิถีชีวิตการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ
(ม.-๖/๑)

มาตรฐาน ส ๒.
วิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไปตามลักษณะทางภูมศาสตร์และส่งผลให้เกิดเป็นเทศกาลได้อย่างไร(ม.-๖/๕)



มาตรฐาน ศ ๑.๒
- ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานเทศกาล
ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมการดำรงวิถีชีวิตอาชีพในแต่ละกลุ่มสังคม (ม๓/๑)

มาตรฐาน ง๑.
- ใช้ทักษะ
ในการทำงานร่วมกับกลุ่มคนอื่นได้อย่างมีคุณธรรม
(ม. ๓/๒)
- อธิบายวิธีการทำงานหรือการทำ อาชีพ เพื่อการดำรงชีวิตของแต่ละกลุ่มคนผ่านงานเทศกาล(ม.-๖/๑)
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อ การดำรงชีวิต
(ม.-๖/๕)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
สุขศึกษา
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๒.๑
- สำรวจวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ระหว่างคนกับ
สิ่งแวดล้อมกับงานเทศกาล (ม. ๓/๑)
-วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดวิถีชีวิตและอาชีพ (ม. ๓/๒)
มาตรฐาน ว ๔.๒
ทดลองและอธิบายระหว่างงานเทศกาลในแต่ละที่ มีความโดดเด่นในวิถีชีวิตอาชีพ ความแตกต่างภูมิศาสตร์ และพันธุกรรมโดยให้เหตุผลอ้างอิงได้ (ม.๓/๑)

- วิเคราะห์เรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะเอกษณ์ของงานเทศกาลที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตคน(ม. ๓/๒)
มาตรฐาน ส ๕.
วิเคราะห์การ   ก่อเกิดของเทศกาลในกลุ่มสังคมต่างๆอันเป็นผลจากการถ่ายทอดวิถีการดำรงชีวิตของคนจากอดีตในอดีตจนถึงปัจจุบัน 
(ม.๓/๑)
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์         โดยใช้วิธีการศึกษาวิถีชีวิตผ่านงาน เทศกาลในแต่ละพื้นที่อย่างเป็นระบบ
 (ม. -๖/๒)




มาตรฐาน ง ๒.
วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต  สังคมได้(ม. -๖/๕)